Before discussing the history of Wat Kamphaeng And the history of Luang Pu Bai, wanting to talk about the history of Wat Kamphaeng first. Because Reverend Pu Pai Lai is very close to Wat Kamphaeng. It can almost be said that Luang Pu and Wat Kamphaeng are part of each other. Because Wat Kamphaeng is part of each other. Because he did everything of Wat Kamphaeng or the people of Wat Kamphaeng throughout his life.
Wat Kamphaeng at present is a medium-sized temple. Located on the west bank of the Sanam Chai Canal in the area of Moo 6, Samae Dam Subdistrict, Bang Khun Thian District. Bangkok I would like to mention the history of Wat Kamphaeng in the following order of events.
Wat Sawang Arom This is our wall temple as heard from many older people. Even Reverend Grandfather Bai Lai himself once told the writer, “This temple of our wall was originally called Wat Sawang Arom.” We cannot know who built it and when it was built. Based on the assumption of those who have knowledge of archaeology, it has been commendably clarified that “From the observation of the objects and buildings contained in the temple, it can be known that This temple has been deserted at least 2 times, as can be seen that the mondop and viharn (When the Mondop was not yet in ruins) was built on the hill of the ruins of the building that had been in ruins for many years. Want to know what the original building was? Must be excavated according to archaeological principles will be able to know enough to tell what it is But it takes a lot of money.”
This mondop, the builder had the intention of enshrining a Buddha image in the attitude of Samut. which is the personal worship of those who were born on Monday The creator of the Mandapa would have been born on Monday. Or may create a merit dedication to a person who has respect and love. Which was born on that day I have seen someone do it. standing image of the Buddha image Both hands are designed as the chest, attached to the wall of the Mondop, almost the entire body is painted in red. There are only some parts of black and gold. Looks very harmonious. As for the illustration behind the Buddha statue, there are trees, flowers and birds, beautiful natural scenery. It is considered an image that cannot be seen anymore.
As for the construction of the temple, it was probably built on a high hill. Religious places that have been destroyed before as well as the Mondop But in front of or in the east of the Mondop (the hill on which the Mondop and Vihara were built was quite high in the year 1942, which was a very flooded year. but the water did not flood It is the residence of many families of villagers, including cattle. The temple built at that time still exists today as a small temple. Built with brick and mortar clay tile roof Dark gray wooden ceiling There are images of dark or possibly golden asterisks which are hardly obvious. In the middle of some asterisks there is a chain hook. There is a glass lantern hanging for worshiping on important religious days.
Inside this viharn, originally there was only one Luang Por Toh. It is a Buddha image built with red sandstone in the meditation posture. The lap size is 5 cubits wide and 6 cubits high. The head is high to the ceiling of the viharn. Chanu (knees) on both sides almost touch the wall. surrounded by a glass wall There is an entrance and exit and the south front has a palai extending out enough to be beautiful, assuming that
” This Buddha image must have been built at the same time Same as when the first temple was built at Sawang Arom Temple and he understood that he would be the presiding monk in the church before, it might be possible Those who come to restore it must be miserable to see him in the sun and rain. Therefore, a temple was built for after the construction of the church” (the old one which was already in ruins which will be discussed in detail later) and the pagoda has been completed. Currently, the temple has been restored and renovated. With the supervision of Phrakhru Kasem Thammaphinan (Puan Sankhum), there are some differences from the original ones. For example, the glass wall is made in the shape of a parapet. which the original is a simple glass wall Lintel recess only
จากการสังเกตดูวัตถุเสนาสนะสิ่งก่อสร้างที่มีเหลืออยู่เป็นหลักฐาน ประกอบกับการศึกษาค้นคว้า หนังสือประวัติศาสตร์หลายเล่ม เพื่อต้องการจะทราบว่าวัดสว่างอารมณ์รกร้างครั้งแรกนั้น ด้วยสาเหตุใด อยู่ในรัชสมัยของพระมหากษัตริย์องค์ใดบ้าง การที่วัดจะรกร้างนั้นจะต้องเกิดเหตุภัยร้ายแรงมาก เป็นต้นว่าเกิดโรคระบาดร้ายแรง ผู้คนล้มตายมากมายถึงขนาดละทิ้งที่อยู่อาศัยไปหาที่อยู่ใหม่ในท้องถิ่นที่อยู่ห่างไกลออกไป จำเป็นต้องทิ้งวัดวาอารามให้รกร้างว่างเปล่า แม้แต่เมืองก็เคยถูกทิ้งรกร้างมาแล้ว (เมืองอู่ทอง เป็นเมืองหลวงของอาณาจักรสุวรรณภูมิ เกิดโรคห่าระบาดผู้คนล้มตายกันมากมาย ถึงต้องกับทิ้งเมืองไปหาที่อยู่ใหม่) จาการตรวจดูประวัติศาสตร์ ก็ไม่พบว่ามีโรคระบาดร้ายแรงเกิดขึ้นในท้องที่แต่อย่างใด
ด้วยอยากรู้ถึงสาเหตุที่วัดต่างๆ รกร้างมากมาย แม้จนทุกวันนี้ยังมีอยู่ถึง ๖ วัดด้วยกัน (๑.วัดป่าบางประทุน ๒.วัดนากริมคลองสนามไชย ๓.วัดสี่บาท อยู่ปากคลองสี่บาท เยื้องหน้าวัดกก ๔.วัดร้างบางบอน อยู่ใกล้วัดสิงห์ และวัดกำแพง ติดทางรถไฟทางทิศเหนือ ติดคลองบางบอนทางทิศใต้ ๕.วัดใหม่กลางคลองหรือวัดหลวงพ่อขาว ติดถนนเอกชัย ๖.วัดน้อยอยู่บนฝั่งคลองบางโคลัด และคลองรางพรานมาบรรจบกัน เวลานี้มีพระมาอาศัยอยู่ มีป้ายที่ถนนกำนันแม้นบอกใหม่ว่าวัดน้อยรัตนาราม)
จึงได้พยายามค้นคว้าเรื่อยมา ในที่สุดจึงทราบว่าใน พ.ศ. ๒๑๐๖ พม่ายกทัพมาตีกรุงศรีอยุธยา ขณะที่กรุงศรีอยุธยาทำศึกติดพันอยู่นั้น พม่าได้ส่งกองทัพรักษาลำแม่น้ำเจ้าพระยา ตั้งแต่นนทบุรีไปจนถึงกรุงธนบุรี เพื่อตัดกำลังชาวกรุงศรีอยุธยา ซึ่งต้องอาศัยอาวุธจากต่างประเทศ ในระยะเวลาดังกล่าวตรงกับรัชสมัยของสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ ซึ่งทำสงครามกับพระเจ้าบุเรงนองกษัตริย์พม่า พระมหาจักรพรรดิ ซึ่งเป็นเมืองระดมพลอื่นๆ ซึ่งสร้างขึ้นใหม่มาหลายเมือง พระองค์เกณฑ์เอากำลังพลและเสบียงอาหารเข้าไปไว้ในกรุงศรีอยุธยา
ด้วยสาเหตุดังกล่าวมา เมืองธนบุรีจึงเป็นเมืองรกร้างว่างเปล่า ผู้คนที่หลงเหลืออยู่บ้างก็คงจะหนีเอาตัวรอดเข้ารกเข้าป่าไป พม่าข้าศึกจึงยึดเอาเมืองธนบุรีได้โดยง่าย และทำทุกสิ่งทุกอย่างเพื่อประโยชน์ของพม่าหาได้คำนึงบาปบุญคุณโทษแม้แต่น้อย ประเทศไทยได้ทำสงครามกับพม่าตลอดรัชกาลของสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ สมเด็จพระมหินทราธิราช แม้จะมีช่วงสั้นๆเกี่ยวกับการทำข้อตกลงอยู่ ๑-๒ ครั้ง โดยเนื้อแท้แล้วคือระยะของศึกสงครามนั้นเอง ครั้นในรัชสมัยสมเด็จพระมหาธรรมราชา กรุงศรีอยุธยาเป็นเมืองขึ้นพม่าอยู่ระยะหนึ่ง และในรัชสมัยของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ก็เต็มไปด้วยสงคราม
ช่วงเวลาดังกล่าวอยู่ในระหว่าง พ.ศ.๒๑๐๖ ถึง พ.ศ.๒๑๓๓ เป็นเวลาถึง ๓๐ ปี นับว่าบ้านเมืองในขณะนั้นอยู่ในภาวะวิกฤต วัดสว่างอารมณ์และวัดอื่นๆ ตามที่ได้กล่าวมาแล้วต้องกลายเป็นวัดรกร้างไปเพราะขาดคนอุปการะ พระภิกษุสามเณรก็ไม่สามารถดำรงสมณสารูปอยู่ได้ เสนาสนะขาดการบูรณะซ่อมแซม วัดสว่างอารมณ์เป็นวัดหนึ่งที่ตกอยู่ในสภาพวัดร้างตั้งแต่นั้นมา
ผู้เขียนได้พยายามศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับพระพุทธรูปที่ทำด้วยหินทรายอยู่ระยะหนึ่ง แล้วนำความรู้ที่ได้มาตรวจสอบดูเศียรพระพุทธรูปที่ทำด้วยหินทรายแดงและหินทรายสีเทา ที่ทางวัดเก็บรักษาไว้ในเวลานี้ ซึ่งมีทั้งพระพุทธรูปทรงเครื่องสวมเทริดก็มี ที่ไม่มีทรงเครื่องก็มี ได้พบแต่เศียรเท่านั้นไม่ทราบองค์พระ (ส่วนลำตัวตั้งแต่อังสะ (บ่า) ลงมาจนพระบาทหายไปไหนหมด) ก็ได้แต่นึกสงสัยอยู่ตลอดมาจนทุกวันนี้
อย่างไรก็ดีหลวงพ่อโตในวิหารพอจะเป็นเครื่องยืนยัน เป็นหลักฐานในการศึกษาได้ว่าท่านเป็นพระพุทธรูปที่ทำด้วยหินทรายแดง และพระที่ทำด้วยหินทรายนั้นมีการสร้างกันมาก่อนรัชสมัยของพระเจ้าปราสาททอง แต่ว่ามานิยมสร้างกันมากในสมัยของพระองค์ท่าน พระเจ้าปราสาททองครองราชย์อยู่ในระหว่าง พ.ศ. ๒๑๗๒ ถึง พ.ศ.๒๑๙๘ ได้พูดมาแล้วในตอนที่พม่าส่งกองทัพเข้ายึดลำน้ำเจ้าพระยาตั้งแต่นนทบุรีตลอดไปจนถึงเมืองธนบุรีเมื่อ พ.ศ.๒๑๐๖ อันเป็นช่วงเวลาที่วัดสว่างอารมณ์รกร้าง ครั้นต่อมามีบุคคลใจบุญได้ทำการปฎิสังขรณ์วัดสว่างอารมณ์ขึ้น ในระหว่างรัชกาลของพระเจ้าปราสาททอง ซึ่งเป็นช่วงที่นิยมสร้างพระที่ทำด้วยหินทราย วัดสว่างอารมณ์เป็นวัดร้างอยู่ประมาณ ๖๗ ปี (๒๑๗๒ – ๒๑๐๖)
เศียรพระหินทรายทั้งหมดที่ทางวัดเก็บรักษาไว้นั้น ผู้เขียนได้เอาขึ้นมาจากห้องใต้ดินของพระปรางค์ที่ได้รับการบูรณะเป็นศรีสง่าตระหง่านอยู่เวลานี้ การที่เข้าไปห้องใต้ดินได้ ก็เนื่องมาจากผู้ร้ายเจาะเข้าไปขโมยของมีค่าในห้องใต้ดินมาเป็นเวลานานแล้ว แต่เข้าไปได้เพียงห้องแรกเท่านั้น ส่วนห้องอื่นเข้าไปไม่ได้เพราะช่องที่คนร้ายเจาะไว้แคบมาก จึงให้หลานชายเข้าไปส่องไฟดูไม่เห็นของมีค่าอะไร นอกจากเศียรพระพุทธรูปหินทรายวางอยู่ห้องละเศียร ผู้เขียนจึงอาราธนาเอาขึ้นมาบูชาเพื่อเป็นสิริมงคลแก่ตัวเองและคนอื่นที่กราบไหว้บูชาท่าน จากการประกอบกรรมดีด้วยจิตใจที่บริสุทธิ์ ผู้เขียนจึงมีความสุขได้ตำแหน่งสูงขึ้นตามลำดับ
เศียรพระหินทรายได้มอบให้ทางวัดเก็บรักษาไว้ทั้งหมด รวมทั้งวัตถุสิ่งของอื่นที่ได้ซื้อหามาก็ได้มอบให้แก่ทางวัดไปพร้อมๆ กัน แต่ห้องใต้ดินของพระปรางค์ยังมีอยู่อีกห้องหนึ่ง คือห้องทางทิศตะวันออกที่ผู้ร้ายไม่ได้เจาะเข้าไป จึงไม่ทราบว่าห้องนั้นมีอะไรอยู่บ้าง การที่ผู้สร้างพระปรางค์เอาเศียรพระหินทรายเอาไปเก็บไว้ในห้องใต้ดิน เค้าคงอเนจอนาถใจที่เห็นเศียรพระตกหล่นอยู่เกลื่อนกลาดเช่นนั้น ก็อาจจะเป็นไปได้
พระพุทธรูปประธานในโบสถ์ และพระโมคคัลลานะ พระสารีบุตร อัครสาวกทั้งสอง ซึ่งล้วนแต่สร้างด้วยปูนปั้นทั้งหมด ฝีมือช่างสมัยกรุงศรีอยุธยา งดงามพอใช้ พระประธานมีพระเนตรดำขลับราวกับว่าท่านมีชีวิต พระพุทธและข้าวของอื่นๆ ถูกโครงหลังคาพังทับลงมาไม่มีเหลือชิ้นดีแม้แต่น้อย ปัจจุบัน นายเปล่ง โพธิ์สุข ได้นำเอาต้นโพธิ์ลังกามาปลูกไว้ ตรงหลุมลูกนิมิตหน้าพระประธาน เพื่อเป็นที่หมายให้รู้ว่าบริเวณที่ปลูกต้นโพธิ์นั้นเคยมีโบสถ์ปลูกสร้างอยู่ก่อน
การก่อสร้างพระปรางค์ ผู้ใจบุญได้ก่อสร้างไว้ระหว่างโบสถ์กับวิหาร มีความสูงจากพื้นดินถึงปลายยอดเพกาประมาณ ๑๒ วาเห็นจะได้ ด้านหน้ามีบันได ๒ ข้าง คล้ายเอาบันไดเกยสองตัวมาต่อกัน ขั้นบันไดทั้งสองจะไปบรรจบกันที่ฐานไพที (บางทีเรียกว่าฐานทักษิณซึ่งหมายถึงทางเดินเวียนขวาแสดงความเครารพปูชนียวัตถุที่บรรจุอยู่ภายในพระปรางค์) ฐานไพทีที่กล่าวนี้เป็นทางเดินแคบๆ องค์พระปรางค์มีซุ้มจระนำ ๔ ทิศ ยอดบนสุดมีฝักเพกาทำด้วยสัมฤทธิ์ ผู้ร้ายได้พยายามจะขโมยไปหลายครั้งหลายหน แต่เอาไปไม่ได้
ต่อมาชำรุดทรุดโทรมมาก ฐานไพทีหักพังจนเดินไม่ได้ ยอดฝักเพกาหลุดล่วงลงมา ต้นไม้ขึ้นตามรอยแตกร้าวหลายแห่งด้วยกัน ปัจจุบันนี้ ท่านพระครูเกษมธรรมาภินันท์ (เผื่อน สังข์คุ้ม) ทำการบูรณะซ่อมแซมให้มีสภาพใกล้เคียงกับของเดิมเท่าที่จะพึงทำได้ เป็นการอนุรักษ์ศิลปะดั้งเดิมเอาไว้เป็นมรดกแก่อนุชนต่อไป
เนื่องมาจากที่กรุงศรีอยุธยาเสียแก่พม่าข้าศึกครั้งที่ ๒ เมื่อ พ.ศ. ๒๓๑๐ เมืองธนบุรีถูกพม่ายึดครอง และตราตั้งยายทองอินซึ่งเป็นคนไทยให้เป็นนายด่าน คอยเก็บทรัพย์สิ่งของและเสบียงอาหารส่งไปให้พม่าที่ค่ายโพธิ์สามต้น กรุงศรีอยุธยา เพื่อจะส่งต่อไปยังประเทศพม่าอีกต่อหนึ่ง ไม่เพียงวัดสว่างอารมณ์จะรกร้างเท่านั้น วัดอื่นๆ ต่างก็รกร้างไปตามๆกัน บรรดาผู้คนที่ถูกพม่ากวาดต้อนไปเป็นเชลย เป็นจำนวนมากที่หนีหลบซ่อนพม่าไปได้ก็อดอยาก เจ็บไข้ได้ป่วยล้มตายเสียเป็นอันมาก เรือกสวนไร่นาต้องทิ้งรกร้างว่างเปล่าอยู่เป็นเวลานาน แม้ว่าผู้คนที่เหลืออยู่ก็ไม่มีมากนัก ทั้งอดอยากยากจน ทรัพย์สิ่งของที่พม่าเอาไปไม่ได้ก็เผาทำลายเสียจนเกือบหมดสิ้น จึงไม่สามารถจะบูรณปฎิสังขรณ์วัดต่างๆ ให้ดีดังเดิมได้จึงต้องปล่อยให้รกร้างต่อไป
เนื่องมาจากที่กรุงศรีอยุธยาเสียแก่พม่าข้าศึกครั้งที่ ๒ เมื่อ พ.ศ. ๒๓๑๐ เมืองธนบุรีถูกพม่ายึดครอง และตราตั้งยายทองอินซึ่งเป็นคนไทยให้เป็นนายด่าน คอยเก็บทรัพย์สิ่งของและเสบียงอาหารส่งไปให้พม่าที่ค่ายโพธิ์สามต้น กรุงศรีอยุธยา เพื่อจะส่งต่อไปยังประเทศพม่าอีกต่อหนึ่ง ไม่เพียงวัดสว่างอารมณ์จะรกร้างเท่านั้น วัดอื่นๆ ต่างก็รกร้างไปตามๆกัน บรรดาผู้คนที่ถูกพม่ากวาดต้อนไปเป็นเชลย เป็นจำนวนมากที่หนีหลบซ่อนพม่าไปได้ก็อดอยาก เจ็บไข้ได้ป่วยล้มตายเสียเป็นอันมาก เรือกสวนไร่นาต้องทิ้งรกร้างว่างเปล่าอยู่เป็นเวลานาน แม้ว่าผู้คนที่เหลืออยู่ก็ไม่มีมากนัก ทั้งอดอยากยากจน ทรัพย์สิ่งของที่พม่าเอาไปไม่ได้ก็เผาทำลายเสียจนเกือบหมดสิ้น จึงไม่สามารถจะบูรณปฎิสังขรณ์วัดต่างๆ ให้ดีดังเดิมได้จึงต้องปล่อยให้รกร้างต่อไป
ใน พ.ศ.๒๓๙๗ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๔ ได้โปรดเกล้าฯ ให้บูรณปฎิสังขรณ์พระปฐมเจดีย์ ครั้นเสร็จเรียบร้อยแล้ว จึงมีพระราชดำรัสให้มีการฉลองสมโภชน์ขึ้นป็นทางราชการ บรรดาพุทธศาสนิกชนทั้งหลาย ต่างพากันเดินทางไปนมัสการพระปฐมเจดีย์กันเป็นอันมาก หลวงพ่อคงเป็นพระภิกษุซึ่งบวชจำพรรษาอยู่ที่วัดกำแพงบางจาก (ปัจจุบันอยู่ในพื้นที่ของเขตภาษีเจริญ) พร้อมด้วยญาติโยมและศิษย์ของท่านได้เดินทางมานมัสการพระปฐมเจดีย์กับเขาด้วย หลวงพ่อคงได้เดินทางมาตามคลองสนามไชย (ขณะนั้นยังไม่ได้ขุดคลองภาษีเจริญ คลองดำเนินสะดวกและคลองอื่นๆ) หลวงพ่อคงได้แวะจอดเรือค้างคืนที่หน้าวัดร้างสว่างอารมณ์ ท่านได้ขึ้นไปตรวจดูสภาพของวัดร้าง ท่านเห็นว่ายังมีเสนาสนะหลายอย่างยังมีสภาพดีอยู่ แม้ว่าจะชำรุดทรุดโทรมไปมากก็ตาม แต่ก็พอที่จะปฎิสังขรณ์ให้กลับมาเป็นวัดที่มีพระภิกษุสงฆ์ประกอบกิจพระศาสนาได้ดังเดิม เช่น โบสถ์ วิหาร ศาลาการเปรียญ กุฎิบางหลังเป็นต้น ทั้งมีหมู่บ้านบนหรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า บ้านหมู่ปากคลองบางบอน เพราะอยู่ใกล้กับปากคลองบางบอน ส่วนทางใต้ของวัดลงไปก็มีหมู่บ้านต้นหงอนไก่ เพราะมีต้นหงอนไก่ขนาดใหญ่มากขึ้นอยู่ริมคลองสนามชัยหน้าหมู่บ้าน
หลวงพ่อคงได้นำความคิดของท่านที่จะบูรณปฎิสังขรณ์วัดสว่างอารมณ์ ไปบอกเล่าแก่ญาติโยมที่ร่วมเดินทางมาด้วยให้ได้ทราบทั่วหน้ากัน หลายคนมีความเห็นสอดคล้องกับหลวงพ่อคง พร้อมที่จะให้ความร่วมมือร่วมใจกับท่านในการบูรณปฎิสังขรณ์วัดสว่างอารมณ์ ให้เป็นวัดที่มีพระภิกษุสงฆ์อยู่อาศัยจำพรรษาต่อไป ต่อมาเมื่อหลวงพ่อคงเดินทางกลับจากไปนมัสการพระปฐมเจดีย์แล้ว ท่านจึงเริ่มเดินทางมาซ่อมแซมบูรณปฎิสังขรณ์วัดสว่างอารมณ์ พร้อมด้วยญาติโยมศิษย์ของท่านจากวัดกำแพงบางจากส่วนหนึ่ง ร่วมกับบรรดาชาวบ้านที่อยู่ทางเหนือและใต้ของวัด ทุกคนต่างก็ให้ความร่วมมือหลวงพ่อคงเป็นอย่างดี
วัดสว่างอารมณ์ ซึ่งเป็นวัดรกร้างมาตั้งแต่ พ.ศ. ๒๓๑๐ เมื่อครั้งที่เสียกรุงศรีอยุธยาแก่พม่าข้าศึกครั้งที่ ๒ จนถึง พ.ศ. ๒๓๙๖ ซึ่งเป็นปีที่หลวงพ่อคงเดินทางไปร่วมนมัสการพระปฐมเจดีย์ นับเป็นเวลาที่วัดสว่างอารมณ์รกร้างอยู่เป็นเวลา ๘๘ ปี บัดนี้การบูรณปฎิสังขรณ์ได้เริ่มขึ้นแล้ว สภาพการรกร้างค่อยๆ หมดไป กลับกลายมาเป็นวัดที่มีพระภิกษุอยู่อาศัยประกอบศาสนากิจ ศึกษาเล่าเรียนพระธรรมวินัยขึ้นมาอีกครั้งหนึ่ง
Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit. Ut elit tellus, luctus nec ullamcorper mattis, pulvinar dapibus leo.making it over 2000 years old. Richard McClintock, a Latin professor at Hampden-Sydney College in Virginia, looked up one of the more obscure Latin words, consectetur, from a Lorem Ipsum passage, and going through the cites of the word in classical literature, discovered the undoubtable source. Lorem Ipsum comes from sections 1.10.32 and 1.10.33 of “de Finibus Bonorum et Malorum” (The Extremes of Good and Evil) by Cicero, written in 45 BC. This book is a treatise on the theory of ethics, very popular during the Renaissance. The first line of Lorem Ipsum, “Lorem ipsum dolor sit amet..”, comes from a line in section 1.10.32.
หลวงพ่อคงเมื่อมาจำพรรษาอยู่ที่วัดสว่างอารมณ์ ท่านเป็นพระที่เคร่งครัดต่อการปฎิบัติพระธรรมวินัย มีวัตรปฎิบัติสม่ำเสมอคงเส้นคงวา จึงเป็นที่เลื่อมใสศรัทธาของชาวบ้านเป็นอันมาก ทั้งท่านได้เปิดสำนักเรียน สอนหนังสือให้แก่เด็กๆ ที่เป็นลูกหลานชาวบ้านที่อยู่ในหมู่บ้านใกล้ๆวัด และสอนให้แก่ผู้ที่ต้องการจะบวชเป็นพระภิกษุสามเณร ทั้งนี้เพื่อผู้อุปสมบทบรรพชาจะได้ศึกษาพระธรรมวินัยให้ลึกซึ้งกว้างขวาง จากพระไตรปิฎกด้วยตนเองได้อีกด้วย หากพระเณรรูปใดมีปัญหา ท่านจะช่วยชี้แนะเป็นอย่างดี การที่หลวงพ่อคง ประพฤติปฏิบัติตนเคร่งครัดอยู่ในพระธรรมวินัยเสมอต้นเสมอปลาย เป็นแบบอย่างที่ดีแก่บรรดาศิษย์และชาวบ้าน นับว่าเป็นประโยชน์ต่อพระศาสนา ประชาชน และประเทศชาติ ชาวบ้านก็ยิ่งมีความเลื่อมใสศรัทธามากขึ้นตามลำดับ ชาวบ้านมักจะเรียกหลวงพ่อคงว่า “ท่านที่มาจากวัดกำแพง” ครั้นเรียกกันต่อมาว่า “ท่านวัดกำแพง” ในที่สุดก็เลยเรียกวัดนี้ว่า “วัดกำแพง” มาจนตราบเท่าทุกวันนี้